กลไกการเกิดพฤติกรรม

กลไกการเกิดพฤติกรรม

 

     พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง กิริยาอาการแสดงออกทุกรูปแบบของสิ่งมีชีวิตเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทั้งภายนอกและใน
เป็นการแสดงออกที่เห็นได้จากภายนอก โดยรูปแบบของพฤติกรรมต่างๆ นั้นเป็นผลมาจากการทำงานร่วนกันของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม

 

     การที่พฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งจะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องประกอบด้วย


1. สิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้น (Stimulus)


2. เหตุจูงใจ (Motivation) 

ซึ่งหมายถึงความพร้อมภายในร่างกายก่อนที่จะแสดงพฤติกรรมเช่น ความหิว ความกระหาย เป็นต้น

 

 

     พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนเพียงใดขึ้นอยู่กับระดับความเจริญของหน่วยต่างๆ ดังนี้


1. หน่วยรับความรู้สึก (Recepter)


2. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nerverous systen)


3. หน่วยปฏิบัติงาน (Effector)

 

 

     การศึกษาพฤติกรรม ทำได้ 2 วิธีคือ


1. วิธีการทางสรีรวิทยา (Physiological approach)

มีจุดมุ่งหมายเพื่ออธิบาย พฤติกรรมในรูปของกลไก การทำงาน ของระบบประสาท

 

 

2. วิธีการทางจิตวิทยา (Psychological approach) 
เป็นการศึกษาถึงผลของปัจจัยต่างๆรอบตัวและปัจจัยภายในร่างกายที่มีผลต่อการพัฒนาและการแสดงออกของพฤติกรรมที่มองเห็นได้ชัดเจน

 

 

     ประเภทของพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 


1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด (inherited behavior)


2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (Learned behavior)

 

ขอขอบคุณ http://www.nana-bio.com/e-learning/Behavior/behavior.htm

 

 

Visitors: 321,692